|
|
 |
|
|
ประชาชนในเขตเทศบาลตำบลพบพระจะอาศัยอยู่รวมกันเป็นหมู่บ้าน
และบางบ้านจะแยกออก
ไปประกอบอาชีพทำการเกษตรตามสวน ไร่
นา ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม
และนับถือศาสนา
พุทธโดยมีวัดเป็นศูนย์
รวมจิตใจของชาวเทศบาลตำบลพบพระทำให้
ประชาชนในเขตเทศบาลพบพระ
อยู่กันอย่างสันติและมีความสุข |
|
|
|
|
|
|
 |
|
 |
|
- |
ผู้นับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ 98 ของจำนวนประชากรทั้งหมดในเขตเทศบาล
มีวัด จำนวน |
|
2 วัด และสำนักสงฆ์ จำนวน 1 สำนัก คือ |
|

 |
วัดพบพระเหนือ |
|

 |
วัดพบพระใต้ |
|

 |
สำนักสงฆ์บุญญาเขตวนาราม |
|
- |
ผู้นับถือศาสนาอิสลาม ร้อยละ 1 ของจำนวนประชากรทั้งหมดในเขตเทศบาล |
- |
ผู้นับถือศาสนาคริสต์ ร้อยละ 1 ของจำนวนประชากรทั้งหมดในเขตเทศบาล |
|
|
|
|
|
 |
|
|
|
ประเพณีท้องถิ่นที่สำคัญ |
|
|

 |
วันสงกรานต์ ประมาณเดือนเมษายน กิจกรรม ทำบุญตักบาตร
ขนทรายเข้าวัด รดน้ำดำหัวผู้สูงอายุ |
|

 |
วันเข้าพรรษา ประมาณเดือนกรกฎาคม กิจกรรม มีการจัดประกวดขบวนแห่เทียนและนำเทียนถวายวัด โดยชุมชนในเขต เทศบาล |
|

 |
วันออกพรรษา ประมาณเดือนตุลาคม กิจกรรม มีการจัดทำบุญตักบาตร
ของแห้งในตอนเช้า |
|

 |
วันลอยกระทง ประมาณเดือนพฤศจิกายน กิจกรรม มีการจัดประกวดขบวน
กระทงใหญ่ , กระทงเล็ก โดยชุมชนในเขตเทศบาล |
|
|
|
|
|
 |
|
|
|
โรงพยาบาลในเขตพื้นที่ โรงพยาบาลพบพระ สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
เตียงคนไข้ จำนวน 30 เตียง
ศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 9 แห่ง (ศสมช.)
บุคลากร
ทางการแพทย์ที่ปฏิบัติหน้าที่ในสถานพยาบาล |
|
|

 |
แพทย์ |
จำนวน |
4 |
จำนวน |
|

 |
พยาบาลวิชาชีพ |
จำนวน |
39 |
จำนวน |
|

 |
ทันตแพทย์ |
จำนวน |
2 |
จำนวน |
|

 |
เภสัชกร |
จำนวน |
3 |
จำนวน |
|

 |
อสม. |
จำนวน |
192 |
จำนวน |
|

 |
ทันตภิบาล |
จำนวน |
2 |
จำนวน |
|
|
|
 |
|
|
|
|
ผู้เข้ารับการรักษาในสถานพยาบาล (ปีงบประมาณ 2551) |
|

 |
ผู้ป่วยใน |
6,562 |
คน |
|

 |
ผู้ป่วยนอก |
67,373 |
คน |
สาเหตุการเจ็บป่วยที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล |
|

 |
อุบัติเหตุ |
29,800 |
ราย/ปี |
คิดเป็นงบประมาณในการรักษาทั้งสิ้น 459,536 บาท |
|

 |
สาเหตุอื่น |
37,573 |
ีราย/ปี |
คิดเป็นงบประมาณในการรักษาทั้งสิ้น 37,455,872.48 บาท |
ประเภทการเจ็บป่วยที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล 5 อันดับแรก (ปี 2551) |
|

 |
โรคท้องเสียและกลุ่มอาการติดเชื้อทางเดินอาหาร |
|

 |
โรคไข้เลือดออก |
|

 |
โรคมาลาเรีย |
|

 |
ไข้รากสาดใหญ่ |
|

 |
โรคความดันโลหิตสูง |
|
|
|
|
|
|
|
|
   |
|
  |
|
|
พระเดิมชื่อ "เพอะพะ" ซึ่งเป็นภาษา
กะเหรี่ยง หมายถึงเฉอะแฉะ เปรอะเปื้อน
เป็นหมู่บ้านหนึ่งของตำบลช่องแคบ อ.แม่
่สอด จ.ตาก ต่อมาได้การยกฐานะเป็นกิ่ง
อำเภอ และยกฐานะเป็นตำบลพบพระ เมื่อ
พ.ศ.2506 ยกฐานะเป็นกิ่งอำเภอพบพระ
เมื่อ พ.ศ.2520 ยกฐานะเป็นอำเภอ เมื่อ
13 ส.ค.2530 ประชาชนในเขตเทศบาล
ตำบลพบพระจะอาศัยอยู่รวมกันเป็นหมู่
บ้าน และบางบ้านจะแยกออกไปประกอบ
อาชีพทำการเกษตรตามสวน ไร่ นา
ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตร
กรรมและนับถือศาสนาพุทธโดยมีวัดเป็น
ศูนย์รวมจิตใจของชาวเทศบาลตำบลพบ
พระ ทำให้ประชาชนในเขตเทศบาลพบ
พระอยู่กันอย่างสันติและมีความสุข |
|
|
|
|
|
   |
|
   |
|
  |
|
|
เทศบาลตำบลพบพระให้ความสำคัญ
กับการศึกษาเป็นอย่างมากทั้งยังเน้นไปยัง
ครู
อาจารย์ ในเรื่องการส่งเสริมสุขภาพ
ของ
เยาวชนควบคู่กับการเรียนการสอนจึง
ทำ
ให้เยาวชนในเทศบาลพบพระมีสุขภาพ
ดี
เพราะถ้าเยาวชนในตำบลพบพระมี
การ
ศึกษาที่ดีจะได้นำความรู้กลับมาพัฒนา เทศ
บาลให้เจริญก้าวหน้าต่อไป |
|
|
|
โดยมีโรงเรียน 2 แห่ง |
|
 |
โรงเรียนชุมชนบ้านพบพระ |
|
 |
โรงเรียนพบพระวิทยาคม |
|
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2 แห่ง |
|
 |
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กพบพระกลาง |
|
 |
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กพบพระทรายงาม |
|
|
|
|
   |
|